Improving writing skill by using blog for Mattayomsuksa 5
Weblogs
(blogs)
have
become
a
potential
tool to assist in the delivery
of instruction for writing.
The
purpose
of
this study was to introduce blogging into
a
community college ESL writing class (2005 spring semester) and to examine
the
significance of its use for the process
writing approach. The study also sought to examine ESL students’ perceptions as well as those of the teacher regarding the implementation
of blogs in the ESL writing class. Students in the class used blogs for four specific aspects
of the
writing
process
approach,
peer
responding
(feedback),
editing, revising, and publishing their writing assignments. Action research was used to collect data from five participants selected for in-depth
study. Data analysis
was performed using qualitative
research and case study methods
to provide thick descriptions and to identify emerging themes.
Credibility of the findings was established by using triangulation
of
data,
member checks, a debriefing group,
and cross checking for confirmation
or repudiation of conclusions. Results seemed congruent with previous
research on technology and second language writing. Blogging proved to be an effective tool for the writing process
approach as evidenced by the numerous
benefits for its use that outweighed the drawbacks. Prior
knowledge of technology
was found
to help the
students adapt to blogging.
Blogging facilitated the students’
critical thinking skills; affected
the quality of students’ writing; provided examples
of feedback and entries
for the students to read, model, and from which to learn;
facilitated
meaningful learning for students;
gave
students a purpose for writing;
and
motivated
students’
writing
and
interaction
by
publishing for an authentic audience. The most significant finding was that blogging
seemed to solve some critical issues related to the students’
trust and confidence in peer editing and revising. At the same time, data also showed that the quantity and multiple-
voiced feedback caused some confusion for students in deciding
what and how to edit and
revise their writing. Overall,
the majority of the students had positive reactions
and experiences throughout the semester.
Blog มาจากศัพท์คำว่า WeBlog บางคนอ่านคำ ๆ นี้ว่า We
Blog บางคนอ่านว่า Web Log แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น
ทั้งสองคำบ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่านั่นคือบล็อก (Blog)
ความหมายของคำว่า Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์
โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรื่องการเมือง
เรื่องกล้องถ่ายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เป็นต้น
โดยจุดเด่นที่ทำให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อก
จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใส่ลงไปในบทความนั้น ๆ โดยบล็อกบางแห่ง
จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน
บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพื่อน ๆ
หรือครอบครัวตนเอง
มีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า
Blog เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไดอารี่ออนไลน์
ในอดีตแรกเริ่ม คนที่เขียน Blog นั้นยังทำกันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเองทีละหน้า แต่ในปัจจุบันนี้
มีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ในการเขียน Blog ได้มากมาย
เช่น WordPress, Movable Type เป็นต้น
ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียน Blog กันอย่างแพร่หลาย
ตั้งแต่นักเรียน อาจารย์ นักเขียน ตลอดจนถึงระดับบริษัทยักษ์ใหญ่ในตลาดหุ้น NasDaq
เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา Blog เริ่มต้นมาจาก การเขียนเป็นงานอดิเรก
ของกลุ่มสื่ออิสระต่าง ๆ หลาย ๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสำคัญ
ให้กับหนังสือพิมพ์หรือสำนักข่าวชั้นนำ จวบจนกระทั่งปี 2004 คนเขียน
Blog ก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสำนักข่าวต่าง ๆ
ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูล ตั้งแต่เรื่องการเมือง ไปจนกระทั่ง
เรื่องราวของการประชุม ระดับชาติและจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่า Blog เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก
วีดีโอ , สิ่งพิมพ์ , โทรทัศน์
หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่า Blog ได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่
ที่สำคัญอย่างแท้จริง
สรุปให้ง่าย ๆ สั้น ๆ ก็คือ Blog คือเว็บไซต์ ที่มีรูปแบบเนื้อหา
เป็นเหมือนบันทึกออนไลน์ มีส่วนของการ comments และก็จะมี link
ไปยังเว็บอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น